เค้าโครงงานการทำโปสเตอร์

หัวข้อโปสเตอร์
"เวลาของการศึกษา"
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. พรสวรรค์ วงค์ตาธรรม
ผู้จัดทำ
1.นางสาวฉัตรฑริกา เวชคง รหัสนักศึกษา 573050203-9
2.นายวัชเรศวร์ ภูขมัง รหัสนักศึกษา 573050566-3
3.นางสาวธัญวรัตม์ ไร่สงวน รหัสนักศึกษา 573050665-1
4.นายเวโรจน์ เหลืองยวง รหัสนักศึกษา 573050670-8
ที่มาและความสำคัญ
การศึกษาของเด็กไทยที่ผ่านมา มีความพยายามในการยกระดับมาตรฐานทางการศึกษาของเด็กและเยาวชน เพื่อให้ได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ เนื่องจากในการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของเด็กไทยในแต่ละปี ผลที่ออกมามักอยู่ในเกณฑ์ที่ต่ำกว่ามาตรฐาน แม้ประเทศไทยจะมีการทุ่มงบประมาณเพื่อพัฒนาการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นโครงการเรียนฟรี 15 ปี รวมถึงโครงการผลิตครูการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับปริญญาตรี (หลักสูตรครู 5 ปี) การประเมินวิทยฐานะ ซึ่งทำให้ครูที่มีผลงานดีได้รับผลตอบแทนสูงขึ้น แต่เหตุใดปัญหาการศึกษาของเด็กไทยยังมีการประเมินว่าอยู่ในเกณฑ์ต่ำเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ ซึ่งปัญหาด้านการเรียนของเด็กไทยในปัจจุบันอาจวิเคราะห์ได้ว่ามาจากหลายประการ ปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เด็กมีผลการเรียนอ่อนลงมาจากความสนใจของตัวเด็กเองที่พบว่า เด็กให้ความสนใจเรื่องของเกม และสื่อหรือแอพลิเคชั่นทางโซเชียลเน็ตเวิร์คมากกว่า ทำให้ความสนใจในการศึกษาหาความรู้ลดน้อยลง
ทั้งนี้ เนื่องมาจากสภาพสังคมไทยเปลี่ยนแปลงไปสู่ยุคที่เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันมากยิ่งขึ้น คณะผู้จัดทำได้เล็งเห็นถึงปัญหานี้เนื่องจากเป็นปัญหาที่ใกล้ตัวและกำลังเป็นที่นิยม สนใจสำหรับคนไทยในปัจจุบัน จึงได้มีการจัดทำโปสเตอร์นี้ขึ้นมาเพื่อเตือนหรือให้ทุกคนได้มีความตระหนักกับปัญหาที่เกิดขึ้นว่ามีความสำคัญมากแค่ไหน
วัตถุประสงค์ของโปสเตอร์
1. เพื่อให้เห็นถึงความสำคัญของเวลาในการศึกษา
2. เพื่อสะท้อนปัญหาการศึกษา เรื่อง การใช้เวลาของนักเรียน/นักศึกษาในปัจจุบัน
3. เพื่อแสดงถึงโอกาสทางการศึกษาของเด็กไทยในอนาคต
วิธีการดำเนินการ
1. มีการแบ่งหน้าที่ให้สมาชิกในกลุ่มออกแบบโปสเตอร์ตาม Comcept ของแต่ละคน
2. นำโปสเตอร์ ที่มา และวัตถุประสงค์ของโปสเตอร์มานำเสนอกัน
3. มีการคัดเลือกโปสเตอร์ที่ได้ออกแบบมา
4. นำรูปที่ออกแบบที่ถูกคัดเลือกมาจัดทำใน โปรแกรม lllustrator
5. นำภาพที่ได้ มาเขียนลงในบล็อก
6. นำเสนอผลงาน
การคิดและการเลือกหัวข้อ (ประชุมเลือกหัวข้อ)
หลังจากที่ได้กำหนดให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มไปคิด Concept และวาดเป็นรูปภาพแล้ว กลุ่มของเราก็ได้นัดกันประชุม เพื่อเลือกหัวข้อ Concept ในวันที่ 15 ก.พ.59 โดยมีบรรยากาศการทำงาน ดังนี




สรุป Concept ที่ได้ คือของ นายวัชเรศวร์ ภูขมัง


ในภาพจะเห็นเป็นรูปนาฬิกาอยู่ตรงกลาง และรายล้อมด้วยสิ่งต่างๆ ซึ่งสิ่งต่างๆที่อยู่รอบข้าง ได้แก่ สื่อโซเชียล มัลติมีเดียทั้งหลาย ที่วัยรุ่นทั้งนักเรียนและนักศึกษานิยมเล่นกัน แต่จะมีหนังสืออยู่เพียงหนึ่งเล่ม ที่ถูกรายล้อม ด้วยสื่อโซเชียลมันติมีเดียทั้งหลาย
ซึ่งสื่อให้เห็นถึงว่านักเรียนนักศึกษาสมัยนี้ ให้เวลากับสื่อออนไลน์ต่างๆมากกว่าหนังสือ หรือการศึกษา และมีข้อความที่อยู่ในส่วนบนของภาพ คำว่า Social More Study Less คือ ให้เวลากับโซเชียลมากขึ้น แต่กลับให้เวลากับการเรียนน้อยลง เป็นการเปรียบเทียบคำให้ผู้อ่านได้คิดตาม เนื่องจากผู้จัดทำได้เล็งเห็นปัญหาเรื่องการใช้เวลาในการศึกษาไทย
จึงได้ออกแบบโปสเตอร์เพื่อสะท้อนปัญหา
อาจารย์ ดร. พรสวรรค์ วงค์ตาธรรม
ผู้จัดทำ
1.นางสาวฉัตรฑริกา เวชคง รหัสนักศึกษา 573050203-9
2.นายวัชเรศวร์ ภูขมัง รหัสนักศึกษา 573050566-3
3.นางสาวธัญวรัตม์ ไร่สงวน รหัสนักศึกษา 573050665-1
4.นายเวโรจน์ เหลืองยวง รหัสนักศึกษา 573050670-8
ที่มาและความสำคัญ
การศึกษาของเด็กไทยที่ผ่านมา มีความพยายามในการยกระดับมาตรฐานทางการศึกษาของเด็กและเยาวชน เพื่อให้ได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ เนื่องจากในการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของเด็กไทยในแต่ละปี ผลที่ออกมามักอยู่ในเกณฑ์ที่ต่ำกว่ามาตรฐาน แม้ประเทศไทยจะมีการทุ่มงบประมาณเพื่อพัฒนาการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นโครงการเรียนฟรี 15 ปี รวมถึงโครงการผลิตครูการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับปริญญาตรี (หลักสูตรครู 5 ปี) การประเมินวิทยฐานะ ซึ่งทำให้ครูที่มีผลงานดีได้รับผลตอบแทนสูงขึ้น แต่เหตุใดปัญหาการศึกษาของเด็กไทยยังมีการประเมินว่าอยู่ในเกณฑ์ต่ำเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ ซึ่งปัญหาด้านการเรียนของเด็กไทยในปัจจุบันอาจวิเคราะห์ได้ว่ามาจากหลายประการ ปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เด็กมีผลการเรียนอ่อนลงมาจากความสนใจของตัวเด็กเองที่พบว่า เด็กให้ความสนใจเรื่องของเกม และสื่อหรือแอพลิเคชั่นทางโซเชียลเน็ตเวิร์คมากกว่า ทำให้ความสนใจในการศึกษาหาความรู้ลดน้อยลง
ทั้งนี้ เนื่องมาจากสภาพสังคมไทยเปลี่ยนแปลงไปสู่ยุคที่เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันมากยิ่งขึ้น คณะผู้จัดทำได้เล็งเห็นถึงปัญหานี้เนื่องจากเป็นปัญหาที่ใกล้ตัวและกำลังเป็นที่นิยม สนใจสำหรับคนไทยในปัจจุบัน จึงได้มีการจัดทำโปสเตอร์นี้ขึ้นมาเพื่อเตือนหรือให้ทุกคนได้มีความตระหนักกับปัญหาที่เกิดขึ้นว่ามีความสำคัญมากแค่ไหน
วัตถุประสงค์ของโปสเตอร์
1. เพื่อให้เห็นถึงความสำคัญของเวลาในการศึกษา
2. เพื่อสะท้อนปัญหาการศึกษา เรื่อง การใช้เวลาของนักเรียน/นักศึกษาในปัจจุบัน
3. เพื่อแสดงถึงโอกาสทางการศึกษาของเด็กไทยในอนาคต
วิธีการดำเนินการ
1. มีการแบ่งหน้าที่ให้สมาชิกในกลุ่มออกแบบโปสเตอร์ตาม Comcept ของแต่ละคน
2. นำโปสเตอร์ ที่มา และวัตถุประสงค์ของโปสเตอร์มานำเสนอกัน
3. มีการคัดเลือกโปสเตอร์ที่ได้ออกแบบมา
4. นำรูปที่ออกแบบที่ถูกคัดเลือกมาจัดทำใน โปรแกรม lllustrator
5. นำภาพที่ได้ มาเขียนลงในบล็อก
6. นำเสนอผลงาน
การคิดและการเลือกหัวข้อ (ประชุมเลือกหัวข้อ)
หลังจากที่ได้กำหนดให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มไปคิด Concept และวาดเป็นรูปภาพแล้ว กลุ่มของเราก็ได้นัดกันประชุม เพื่อเลือกหัวข้อ Concept ในวันที่ 15 ก.พ.59 โดยมีบรรยากาศการทำงาน ดังนี





สรุป Concept ที่ได้ คือของ นายวัชเรศวร์ ภูขมัง


ในภาพจะเห็นเป็นรูปนาฬิกาอยู่ตรงกลาง และรายล้อมด้วยสิ่งต่างๆ ซึ่งสิ่งต่างๆที่อยู่รอบข้าง ได้แก่ สื่อโซเชียล มัลติมีเดียทั้งหลาย ที่วัยรุ่นทั้งนักเรียนและนักศึกษานิยมเล่นกัน แต่จะมีหนังสืออยู่เพียงหนึ่งเล่ม ที่ถูกรายล้อม ด้วยสื่อโซเชียลมันติมีเดียทั้งหลาย
ซึ่งสื่อให้เห็นถึงว่านักเรียนนักศึกษาสมัยนี้ ให้เวลากับสื่อออนไลน์ต่างๆมากกว่าหนังสือ หรือการศึกษา และมีข้อความที่อยู่ในส่วนบนของภาพ คำว่า Social More Study Less คือ ให้เวลากับโซเชียลมากขึ้น แต่กลับให้เวลากับการเรียนน้อยลง เป็นการเปรียบเทียบคำให้ผู้อ่านได้คิดตาม เนื่องจากผู้จัดทำได้เล็งเห็นปัญหาเรื่องการใช้เวลาในการศึกษาไทย
จึงได้ออกแบบโปสเตอร์เพื่อสะท้อนปัญหา
และได้หัวข้อ "เวลาของการศึกษา"
ความคิดของฉัน

ข้าพเจ้าได้ลองวาดภาพตามคอนเสปที่ได้คิดไว้ คือ อนาคตของฉัน ซึ่งจะเสนอเนื้อหาประมาณว่า
" มีเด็กที่กำลังสับสน ยืนอยู่ตรงกลางถนน ที่มีทางแยก 2 ทาง ถ้าเลี้ยวซ้าย มีเขียนตัวอักษรว่า parent ซึ่งให้ความหมายว่า ทางที่พ่อแม่เลือก หรือต้องการให้เดิน และถ้าเลี้ยวขวา มีเขียนตัวอักษรว่า me ซึ่งให้ความหมายว่า ทางที่เราเลือกที่จะเดินเอง "
ระยะเวลาดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 28 มกราคม 2559 ถึง 18 กุมภาพันธ์ 2559
ความคิดของฉัน

ข้าพเจ้าได้ลองวาดภาพตามคอนเสปที่ได้คิดไว้ คือ อนาคตของฉัน ซึ่งจะเสนอเนื้อหาประมาณว่า
" มีเด็กที่กำลังสับสน ยืนอยู่ตรงกลางถนน ที่มีทางแยก 2 ทาง ถ้าเลี้ยวซ้าย มีเขียนตัวอักษรว่า parent ซึ่งให้ความหมายว่า ทางที่พ่อแม่เลือก หรือต้องการให้เดิน และถ้าเลี้ยวขวา มีเขียนตัวอักษรว่า me ซึ่งให้ความหมายว่า ทางที่เราเลือกที่จะเดินเอง "
ระยะเวลาดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 28 มกราคม 2559 ถึง 18 กุมภาพันธ์ 2559